ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์"

จาก วิกิคำคม
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 5:


คำกล่าวของ '''หลวงหาญสงครามไชย''' (แม่ทัพ ร. พัน ๒๘ น. นครสวรรค์ ผู้บัญชาการรบยึดเมืองปากลายคืนจากฝรั่งเศส) ที่มีต่อนักเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด (ว) อุตรดิตถ์ ที่หลบหนีการเรียนเพื่ออาสาเข้าร่วมรบกับกองทัพไทยเข้ายึดฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืนจากอินโดจีนฝรั่งเศส ในกรณีพิพาทอินโดจีน พ.ศ. ๒๔๘๓
คำกล่าวของ '''หลวงหาญสงครามไชย''' (แม่ทัพ ร. พัน ๒๘ น. นครสวรรค์ ผู้บัญชาการรบยึดเมืองปากลายคืนจากฝรั่งเศส) ที่มีต่อนักเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด (ว) อุตรดิตถ์ ที่หลบหนีการเรียนเพื่ออาสาเข้าร่วมรบกับกองทัพไทยเข้ายึดฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืนจากอินโดจีนฝรั่งเศส ในกรณีพิพาทอินโดจีน พ.ศ. ๒๔๘๓

----

อ้างอิง-

มณเฑียร ดีแท้. (2523). '''มรดกทางวัฒนธรรมของชาวอุตรดิตถ์'''. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: วิเทศธุรกิจการพิมพ์. หน้า 50-51

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:28, 31 มกราคม 2553

"ขอยินดีและขอบใจพวกนักเรียน(ฝึกหัดครูประกาศนียบัตรอุตรดิตถ์)มาก ที่อุตสาห์ติดตามกองทัพมาถึงที่นี่ ฉันจะไม่ปฏิเสธในคำขอร้องของพวกเธอ เธอมีเจตนาดีต่อประเทศชาติ เธอยอมเสียสละเลือดเนื้อและชีวิตให้แก่ประเทศชาติ นับว่าเป็นตัวอย่างที่ดี ซึ่งเป็นส่วนสำคัญแก่อนุชนรุ่นหลัง ถ้าหากประเทศไทยเรามีคนที่มีจิตใจรักชาติเช่นอย่างพวกเธอโดยสมบูรณ์ทั้งประเทศชาติแล้ว ประเทศไทยก็จะเจริญยิ่งขึ้น ไม่มีความเสื่อมอะไรเลย ฉันขอมอบหน้าที่ให้พวกเธออยู่กับกองเสนารักษ์ วันพรุ่งนี้เราก็จะเข้ายึด"

คำกล่าวของ หลวงหาญสงครามไชย (แม่ทัพ ร. พัน ๒๘ น. นครสวรรค์ ผู้บัญชาการรบยึดเมืองปากลายคืนจากฝรั่งเศส) ที่มีต่อนักเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด (ว) อุตรดิตถ์ ที่หลบหนีการเรียนเพื่ออาสาเข้าร่วมรบกับกองทัพไทยเข้ายึดฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืนจากอินโดจีนฝรั่งเศส ในกรณีพิพาทอินโดจีน พ.ศ. ๒๔๘๓


อ้างอิง-

มณเฑียร ดีแท้. (2523). มรดกทางวัฒนธรรมของชาวอุตรดิตถ์. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพฯ: วิเทศธุรกิจการพิมพ์. หน้า 50-51