ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะไลลามะที่ 14"

จาก วิกิคำคม
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:
{{คำพูด|มนุษย์เรานี้ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อทำให้ได้เงินมา แล้วต้องสูญเสียเงินตราเพื่อฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วยังเฝ้ากังวลกับอนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผลที่เกิดขึ้นจริงๆก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบันหรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขาดำเนินชีวิตเสมือนหนึ่งว่า เขาไม่มีวันตาย และแล้วเขาก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่จริง|ทะไลลามะ}}
{{คำพูด|มนุษย์เรานี้ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อทำให้ได้เงินมา แล้วต้องสูญเสียเงินตราเพื่อฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วยังเฝ้ากังวลกับอนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผลที่เกิดขึ้นจริงๆก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบันหรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขาดำเนินชีวิตเสมือนหนึ่งว่า เขาไม่มีวันตาย และแล้วเขาก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่จริง|ทะไลลามะ}}


[[หมวดหมู่:นักบวชต่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:นักบวชชาวต่างประเทศ]]





รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:23, 30 มิถุนายน 2557

w
w
วิกิพีเดีย มีบทความเกี่ยวกับ

องค์ทะไลลามะ เป็นตำแหน่งประมุขหัวหน้าคณะสงฆ์ในพุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนาแบบทิเบต นิกายเกลุก (นิกายหมวกเหลือง) เป็นผู้นำทางด้านจิตวิญญาณสูงสุดของชาวทิเบต คำว่าทะไลลามะ มาจากภาษามองโกเลีย dalai แปลว่า มหาสมุทร และภาษาทิเบต བླ་མ ་bla-ma แปลว่า พระชั้นสูง

ตามประวัติศาสตร์ของทิเบต เชื่อว่าองค์ทะไลลามะเป็นอวตารในร่างมนุษย์ของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ และเมื่อองค์ทะไลลามะองค์หนึ่งสิ้นพระชนม์ไป จะกลับชาติมาประสูติใหม่เป็นองค์ทะไลลามะองค์ต่อไป โดยเรทิงรินโปเช ซึ่งเป็นพระสงฆ์ระดับรองลงมาจะเป็นผู้ใช้นิมิตสรรหาเด็กคนที่เชื่อว่าเป็นทะไลลามะกลับชาติมาเกิด

องค์ทะไลลามะ พระองค์ที่ สิบสี่

สมเด็จพระ เทนซิน เกียตโซ (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama , 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - ปัจจุบั) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายาน พุทธศาสนาแบบทิเบตนิกายเกลุก


คำคม

“ มนุษย์เรานี้ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อทำให้ได้เงินมา แล้วต้องสูญเสียเงินตราเพื่อฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วยังเฝ้ากังวลกับอนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผลที่เกิดขึ้นจริงๆก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบันหรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขาดำเนินชีวิตเสมือนหนึ่งว่า เขาไม่มีวันตาย และแล้วเขาก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่จริง ”
ทะไลลามะ