ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะไลลามะที่ 14"

จาก วิกิคำคม
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gunofficial1998 (คุย | ส่วนร่วม)
Gunofficial1998 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
[[ไฟล์:14th Dalai Lama.jpg|thumb]]สมเด็จพระ เทนซิน เกียตโซ ([[ภาษาทิเบต]]: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; [[ภาษาจีน]]: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama , 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี ค.ศ. 1989 และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายาน พุทธศาสนาแบบทิเบตนิกายเกลุก
[[ไฟล์:14th Dalai Lama.jpg|thumb]]สมเด็จพระ เทนซิน เกียตโซ (6 กรกฎาคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี ค.ศ. 1989 และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายาน พุทธศาสนาแบบทิเบตนิกายเกลุก




บรรทัดที่ 39: บรรทัดที่ 39:


ประเมินความสำเร็จในสิ่งที่คุณไม่เคยทำสำเร็จ เพื่อจะได้มุ่งมั่นทำมันให้สำเร็จ
ประเมินความสำเร็จในสิ่งที่คุณไม่เคยทำสำเร็จ เพื่อจะได้มุ่งมั่นทำมันให้สำเร็จ


{{โครง}}


[[หมวดหมู่:นักบวชชาวต่างประเทศ]]
[[หมวดหมู่:นักบวชชาวต่างประเทศ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:40, 23 กุมภาพันธ์ 2563

สมเด็จพระ เทนซิน เกียตโซ (6 กรกฎาคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี ค.ศ. 1989 และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายาน พุทธศาสนาแบบทิเบตนิกายเกลุก


คำสอน

มนุษย์เรานี้ยอมสูญเสียสุขภาพเพื่อทำให้ได้เงินมา แล้วต้องสูญเสียเงินตราเพื่อฟื้นฟูรักษาสุขภาพ แล้วยังเฝ้ากังวลกับอนาคต จนไม่มีความรื่นรมย์กับปัจจุบัน ผลที่เกิดขึ้นจริง ๆ ก็คือ เขาไม่ได้อยู่กับปัจจุบันหรือแม้กระทั่งอยู่กับอนาคต เขาดำเนินชีวิตเสมือนหนึ่งว่า เขาไม่มีวันตาย และแล้วเขาก็ตายอย่างไม่เคยมีชีวิตอยู่จริง
คิดไว้เสมอว่า ‘หวังในความสำเร็จมาก ก็เสี่ยงที่จะสูญเสียมาก’
ยามใดที่แพ้ ให้นำสิ่งที่แพ้มาเป็นบทเรียน
กฎ 3 อาร์น่าคิด Respect for self คือเคารพตัวเอง, Respect for others เคารพผู้อื่น และ Responsibility คือรับผิดชอบในทุก ๆ การกระทำของตน
บางครั้งการที่มาเอาตัวไปข้องเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากได้ใคร่มีมากเกินไป ก็อาจทำให้คุณได้ในสิ่งนั้นอย่างไม่น่าเชื่อ
เรียนรู้กฎให้ละเอียดถ่องแท้ เผื่อว่าคุณอาจหาทางแหกกฎได้อย่างถูกวิธี
อย่าให้ความขัดแย้งเล็ก ๆ น้อย ๆ มาทำลายมิตรภาพที่ยิ่งใหญ่
เมื่อใดที่รู้สึกว่าทำผิด ให้รีบแก้ไขให้ถูกต้อง
ใช้เวลาอยู่กับตัวเองในทุก ๆ วัน
อ้าแขนให้กว้างเพื่อรับสิ่งท้าทายในชีวิต และเมื่อใดที่มีสิ่งล้ำค่าเข้ามา ก็อย่าปล่อยมันไป
 จงจำไว้ว่าบางครั้ง ความเงียบก็เป็นคำตอบที่ดีที่สุดสำหรับบางเรื่อง
 ใช้ชีวิตให้ดีอย่างคนมีเกียรติ เพราะเมื่อตอนเราแก่ตัวลง จะได้มองย้อนกลับไปในอดีตอย่างมีความสุข
บรรยากาศในบ้านแสนสุขเป็นพื้นฐานที่ดีของการดำรงชีวิต
 เมื่อไม่เห็นด้วยกับคนที่เราแคร์ในบางเรื่อง ให้ทะเลาะกันได้เฉพาะในปัญหาปัจจุบัน อย่าขุดคุ้ยเรื่องอดีต
 มีความรู้อะไรก็ให้รู้จักแบ่งปัน เพราะความรู้เป็นสิ่งที่ไม่มีวันตาย (ตัวตายแต่ชื่อยัง ถ้าสร้างชื่อเสียงในทางที่ดี)
รู้จักรักและเคารพโลก
 ในแต่ละปี ให้เดินทางไปในที่ที่คุณยังไม่เคยไปมาก่อน
ประเมินความสำเร็จในสิ่งที่คุณไม่เคยทำสำเร็จ เพื่อจะได้มุ่งมั่นทำมันให้สำเร็จ