วิธีใช้:การแก้ไข
เนื้อหานี้คัดลอกมาจาก วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า
วิกิคำคม คือ วิกิวิกิ, ซึ่งหมายความว่าใคร ๆ ก็สามารถเข้ามาแก้ไขหัวข้อ ที่อนุญาตให้แก้ไขได้ง่าย ๆ และสามารถแสดงส่วนที่แก้ไขนั้นได้ทันที
การแก้ไขหน้าวิกิเป็นเรื่องที่ทำได้ง่ายมาก เพียงคลิกที่ลิงก์ "แก้ไข" ตรงแถบส่วนหัวหรือส่วนท้าย (รวมถึงด้านข้าง) ของหน้าวิกิ เพื่อที่จะเข้าไปแก้ไข, ท่านก็จะเข้าสู่หน้าที่มีกรอบข้อความซึ่งสามารถแก้ไขข้อความในหน้าวิกิหน้านั้นได้ (หรืออาจจะคลิกที่ลิงก์ "พูดคุย" จากนั้นก็ "แก้ไข" เพื่อพูดคุยในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหน้านั้น ๆ)
จากนั้นก็พิมพ์ข้อความลงไป อย่าลืมเขียนสรุปการแก้ไขในช่องเล็ก ๆ ด้านล่างด้วย จากนั้นก็กด "บันทึก" เพื่อบันทึก. นอกจากนี้คุณยังสามารถดูตัวอย่างสิ่งที่คุณแก้ไข ก่อนที่จะบันทึกได้อีกด้วย. บนระบบส่วนใหญ่ การกดเอนเทอร์ (Enter) ในขณะที่ไม่ได้อยู่ที่กรอบแก้ไข (ไม่มีเคอร์เซอร์ในนั้น) จะมีผลเช่นเดียวกับกดปุ่ม "บันทึก"
กลเม็ดในการเขียนและตรวจแก้บทความวิกิคำคม
[แก้ไข]- ควรเขียนบทความด้วยมุมมองที่เป็นกลาง และระบุเอกสารอ้างอิง เพื่อง่ายแก่การตรวจสอบ และเพื่อประโยชน์ในการเพิ่มเติมข้อมูลในภายหลัง
- ดูหน้า วิกิคำคม:การใช้ภาษา เพื่ออ่านคำแนะนำเกี่ยวกับการใช้ภาษา รวมถึงตัวสะกด
- เพื่อความสะดวกในการเขียน ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์ (text editor) ใด ๆ ก็ได้ตามความสะดวก เพื่อพิมพ์และแก้ไข ก่อนที่จะตัดแปะลงในหน้าแก้ไขบทความ เพื่อดูตัวอย่างการแสดงผลจริงบนเว็บเบราว์เซอร์ (preview). ข้อดีของวิธีนี้คือ ผู้ใช้จะยังมีบทความนั้นเก็บอยู่ในเครื่องของตัวเอง และสามารถจะแก้ไขเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา ถึงแม้จะไม่ได้ต่ออินเทอร์เน็ต. โปรแกรมเท็กซ์เอดิเตอร์บางตัว สามารถปรับให้เหมาะกับการพิมพ์บทความวิกิพีเดียได้, โปรดดู Wikipedia:syntax highlighting.
- ในระหว่างทำการแก้ไขบทความ ถ้าต้องการเปิดดูหน้าปัจจุบัน, โดยไม่ยกเลิกการแก้ไขที่ทำอยู่, ให้เปิดลิงก์ "ยกเลิก" ในหน้าต่างใหม่.
หลังจากสร้างหน้าใหม่แล้ว ควรทำขั้นตอนต่อไปนี้ด้วย:
- ตรวจสอบดูหน้าที่ เชื่อมโยงมายังหน้านี้ โดยใช้ลิงก์ หัวข้ออื่นที่โยงมา เพื่อตรวจสอบดูความหมายของคำที่เชื่อมโยงมา ว่าตรงกับความหมายที่ได้ให้ไว้ในเนื้อหาของหน้านี้
- ใช้ปุ่ม"ค้นหา" เพื่อค้นหาคำ หัวข้อ ของหน้าที่ปรากฏในหน้าบทความอื่น ๆ และทำลิงก์เชื่อมโยงมายังหน้านี้ ตามความเหมาะสม
- ตรวจสอบหน้าที่เกี่ยวข้องในวิกิคำคมภาษาอื่น ๆ ที่คุณอ่านได้
- หัวข้อบางหัวข้อ สามารถเชื่อมโยงกันได้ ด้วยแม่แบบ ที่เตรียมไว้แล้ว, โปรดดูที่ วิกิคำคม:แม่แบบเชื่อมโยงหัวข้อ
การแก้ไขเล็กน้อย
[แก้ไข]เมื่อแก้ไขหน้า ผู้ใช้ที่ล็อกอินสามารถกำหนดได้ว่าการแก้ไขนั้น เป็น "การแก้ไขเล็กน้อย" ซึ่งมักจะเป็นการแก้คำสะกด จัดรูปแบบ หรือเรียบเรียงเนื้อหา เราสามารถซ่อนการแก้ไขเล็กน้อยเมื่อแสดง หน้าที่มีการปรับปรุงล่าสุด. การกำหนดการแก้ไขจริง ๆ ว่าเป็นการแก้ไขเล็กน้อย เป็นการกระทำที่ไม่สมควร ในที่นี้รวมถึงการลบบางส่วนของข้อความด้วย. ถ้ามีกรณีกำหนดการแก้ไขเป็นการแก้ไขเล็กน้อยโดยไม่ได้ตั้งใจ ให้แก้ไขอะไรก็ได้อีกหน่อย (เช่น การเพิ่มช่องว่างระหว่างคำ 2 คำ หรือการขึ้นบรรทัดใหม่) แล้วกำหนดเป็นการแก้ไขหลัก จากนั้นก็กรอกในช่อง 'คำอธิบายโดยย่อ' ว่า "การแก้ไขครั้งก่อนนี้ เป็นการแก้ไขหลัก"
ตกแต่งวิกิ
[แก้ไข]ในตารางด้านล่าง, คอลัมน์ซ้าย จะแสดงผลลัพธ์ ว่าจะปรากฏอย่างไร, ส่วน คอลัมน์ขวา จะบอกว่า จะทำอย่างไรเพื่อให้ได้ผลลัพธ์อย่างนั้น. หรือพูดอีกอย่างหนึ่งคือ การจะทำข้อความให้ดูเหมือนกับที่แสดงในคอลัมน์ซ้าย ให้พิมพ์ในรูปแบบที่คุณเห็นในคอลัมน์ขวา.
คุณอาจจะเปิดหน้านี้ไว้อีกหน้าต่างหนึ่งเพื่ออ้างอิง. หากต้องการทดลองทำตาม, โดยไม่ให้เกิดความเสียหาย, สามารถลองได้ที่ วิกิคำคม:กระดาษทด
หมายเหตุ: สำหรับเนื้อหาบางหมวดหมู่ เช่น ประเทศ หรือ พรรณไม้ จะมีรูปแบบการจัดหน้ามาตรฐานอยู่ สามารถดูได้ที่ วิกิคำคม:การจัดหน้า
ตอน, ย่อหน้า, รายการ, และ เส้นแบ่ง
[แก้ไข]ผลลัพธ์ที่ได้ | สิ่งที่พิมพ์ |
---|---|
ตอนใหม่ ตอนรอง ตอนย่อย
|
การสร้างตอน (section) ==ตอนใหม่== ===ตอนรอง=== ====ตอนย่อย==== |
การขึ้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง ไม่มีผลต่อการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล แต่สามารถใช้สำหรับการแบ่งประโยคออกจากกันได้ ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดใหม่นี้จะช่วยในการตรวจแก้ และช่วยการทำงานของ ต่าง (ใช้เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า) แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่ |
การขึ้นบรรทัดใหม่ การขึ้นบรรทัดใหม่ 1 ครั้ง ไม่มีผลกับการจัดย่อหน้าในหน้าแสดงผล สามารถใช้ในการตัดประโยคจากกันได้ ผู้เขียนบางคนเห็นว่า การขึ้นบรรทัดนี้จะช่วยในการตรวจแก้ และช่วยการทำงานของ ''ต่าง'' (ใช้เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างรุ่นของหน้า) แต่การขึ้นบรรทัดใหม่ 2 ครั้ง มีผลเท่ากับการขึ้นย่อหน้าใหม่ |
คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้ |
การสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ คุณสามารถขึ้นบรรทัดใหม่ได้<br/> โดยที่ไม่ขึ้นย่อหน้าใหม่ |
|
การใส่ bullet เพื่อแยกรายการ *การสร้างรายการ **ให้ใส่เครื่องหมาย * ด้านหน้ารายการ **ใช้ * มากดวงขึ้น ***เพื่อสร้างรายการในระดับ ***ที่ย่อยมากขึ้น |
|
การใส่เลขลำดับข้อ # รายการชนิดตัวเลขก็ใช้ดีเช่นกัน ## ยิ่งจัดโครงสร้างดี ๆ ## ยิ่งง่ายต่อการติดตาม |
|
การใช้ bullet ผสมเลขลำดับข้อ * สามารถใช้ผสมกันได้ *# และแบ่งรายการย่อยไปเรื่อย ๆ *#* อย่างนี้ |
|
การแสดงหัวข้อหลักและหัวข้อย่อย ; รายการนิยามศัพท์ : รายการของคำศัพท์และความหมาย ; คำศัพท์ : ความหมายของคำศัพท์ |
ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่
|
การย่อหน้า : ขึ้นต้นด้วยมหัพภาคคู่ เพื่อร่นกั้นหน้าซ้ายของย่อหน้า ขึ้นบรรทัดใหม่ เพื่อเริ่มย่อหน้าใหม่ |
IF บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง THEN มันจะแสดงในรูปแบบ เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป; โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่; และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย; ENDIF
|
IF บรรทัดขึ้นต้นด้วยช่องว่าง THEN มันจะแสดงในรูปแบบ เหมือนกับที่พิมพ์เข้าไป; โดยใช้ฟอนต์ที่มีความกว้างคงที่; และจะไม่ตัดบรรทัดด้วย; ENDIF |
การวางข้อความไว้กึ่งกลาง <center>วางข้อความไว้กึ่งกลาง</center> | |
เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน และนี่อยู่ล่าง
|
การใช้เส้นแบ่ง เส้นแบ่งในแนวนอน: นี่อยู่บน ---- และนี่อยู่ล่าง |
ลิงก์, URLs
[แก้ไข]ผลลัพธ์ที่ได้ | สิ่งที่พิมพ์เข้าไป |
---|---|
สมชายแนะนำหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน
|
การลิงก์หัวข้อ สมชายแนะนำ[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน]] |
ไทยแบ่งเขตการบริหารออกเป็น 75 จังหวัด
|
[[ประเทศไทย|ไทย]]แบ่งเขตการบริหารออกเป็น 75 จังหวัด |
ลิงก์ไปยังตอนใดตอนหนึ่งในหน้า เช่น en:List_of_cities_by_country#Morocco (การลิงก์ไปยังตอนที่ไม่มีอยู่จริง ไม่ทำให้อะไรเสียหาย เพียงแค่จะเสมือนลิงก์ไปยังหน้านั้นตามปกติ คือจะแสดงตั้งแต่บนสุดลงมา) |
การลิงก์ไปตอนใดตอนหนึ่ง [[List_of_cities_by_country#Morocco]] |
การต่อท้ายคำ ทำให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้: en:testing, en:genes |
การต่อท้ายคำทำ ให้เป็นลิงก์ทั้งคำ และส่วนขยายได้: [[:en:test]]ing, [[:en:gene]]s |
ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ: อาณาจักร ซ่อน namespace อัตโนมัติ: สภากาแฟ
|
การซ่อนข้อความที่อยู่ในวงเล็บ ซ่อนสิ่งที่อยู่ในวงเล็บอัตโนมัติ: [[อาณาจักร (ชีววิทยา)|]] ซ่อน namespace อัตโนมัติ: [[วิกิพีเดีย:สภากาแฟ|]] |
เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ ซึ่งท่านทำได้ง่าย ๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน: หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา:
|
การลงชื่อ และเวลา เมื่อเพิ่มความคิดเห็นลงไปในหน้าพูดคุย ท่านควรลงชื่อเสมอ ซึ่งท่านทำได้ง่าย ๆ โดยใส่เครื่องหมาย ~ 3 ตัวติดกัน ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยชื่อของท่าน: : ~~~ หรือพิมพ์ ~ 4 ตัว เพื่อใส่ชื่อและวันที่/เวลา: : ~~~~ |
พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง คือหน้าที่ยังไม่มี
|
การสร้างลิงก์หัวข้อใหม่ [[พยากรณ์อากาศของจังหวัดลำปาง]] คือหน้าที่ยังไม่มี |
|
#REDIRECT [[ประเทศไทย]] |
|
[[fr:Wikipédia:Aide]] |
หน้า หัวข้ออื่นที่โยงมา และ ปรับปรุงล่าสุด สามารถลิงก์ได้โดย: พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า และ พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า |
หน้า '''หัวข้ออื่นที่โยงมา''' และ '''ปรับปรุงล่าสุด''' สามารถลิงก์ได้โดย: [[พิเศษ:Whatlinkshere/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า]] และ [[พิเศษ:Recentchangeslinked/วิกิพีเดีย:การแก้ไขหน้า]] |
ลิงก์ภายนอก: Nupedia |
ลิงก์ภายนอก: [http://www.nupedia.com Nupedia] |
หรือแค่ใส่ URL: http://www.nupedia.com
|
หรือแค่ใส่ URL: http://www.nupedia.com. |
|
ISBN 012345678X ISBN 0-12-345678-X |
ใช้ลิงก์ไปยังวันที่ เพื่อที่ทุกๆ คนจะได้ตั้งค่าแสดงผลตามที่ต้องการ ใช้ พิเศษ:Preferences เพื่อเปลี่ยนค่าตั้งของการกำหนดการแสดงผลงวันที่ |
[[July 20]], [[1969]] , [[20 July]] [[1969]] and [[1969]]-[[07-20]]ทั้งหมดจะแสดงเป็น 20 July 1969 ถ้าท่านกำหนดให้แสดงผลวันที่เป็น 1 January 20001 |
|
[[media:Sg_mrob.ogg|เสียง]] |
รูปภาพ
[แก้ไข]- ดูเพิ่มเติมที่หัวข้อ วิกิพีเดีย:วิธีการใส่ภาพ
ภาพหรือสื่อต่าง ๆ ที่นำมาใช้ได้ในบทความของวิกิพีเดีย ต้องผ่านการอัพโหลดที่หน้าอัพโหลดของวิกิพีเดีย หรือหน้าอัพโหลดของคอมมอนส์ โดยภาพที่ถูกอัพโหลดแล้วสามารถดูได้ที่รายการภาพหรือ ห้องภาพใหม่ของวิกิพีเดียภาษาไทย หรือหน้าหลักของคอมมอนส์
วิธีการใส่ภาพ ทำได้โดย ใช้คำสั่ง [[ภาพ:__ตามด้วยชื่อภาพ__]] ตัวอย่างเช่น สำหรับการใส่ค่ารายละเอียดของภาพเช่นขนาด ตำแหน่ง หรือคำอธิบายอื่นๆ ให้ใส่หลังเครื่องหมายขีดตั้งเช่น โดยจะแสดงผลออกมา อย่างภาพภาพโลโก้วิกิพีเดียทางขวามือโดยมีความหมายว่า ให้วางชิดขวา ที่ขนาด 90 พิกเซล ดูเพิ่มเติมที่ วิกิพีเดีย:วิธีการใส่ภาพ
รูปแบบตัวอักษร
[แก้ไข]ผลลัพธ์ที่ได้ | สิ่งที่พิมพ์เข้าไป |
---|---|
Emphasize, strongly, very strongly.
|
การแสดงการเน้นตัวอักษร ''Emphasize'', '''strongly''', '''''very strongly'''''. |
ท่านสามารถเขียน ตัวเอียง และ ตัวหนา หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์ แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์:
|
การแสดงลักษณะของตัวอักษร ท่านสามารถเขียน <i>ตัวเอียง</i> และ <b>ตัวหนา</b> หากต้องการกำหนดตามลักษณะของฟอนต์ แทนที่จะเป็น emphasis เช่นใช้ในการเขียนสูตรคณิตศาสตร์: :<b>F</b> = <i>m</i><b>a</b> |
ฟอนต์ ตัวพิมพ์ดีด สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่น ๆ |
การใช้ฟอนต์สำหรับศัพท์เทคนิค ฟอนต์ <tt>ตัวพิมพ์ดีด</tt> สำหรับศัพท์เทคนิค หรืออื่นๆ |
ท่านสามารถใช้ ตัวอักษรขนาดเล็ก
สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ |
การใช้ฟอนต์สำหรับบรรยายใต้ภาพ ท่านสามารถใช้ <small>ตัวอักษรขนาดเล็ก</small> สำหรับเขียนคำบรรยายใต้ภาพ |
ท่านสามารถ แล้ว ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่ |
การขีดฆ่าข้อความเดิมใช้ข้อความใหม่ ท่านสามารถ <strike>ขีดฆ่าเนื้อหาที่ลบออก</strike> แล้ว <u>ขีดเส้นใต้เนื้อหาใหม่</u> |
À Á Â Ã Ä Å |
ตัวอูมเลาท์ และสัญลักษณ์เน้นเสียง (เช่นที่ใช้ในสำหรับภาษาแถบยุโรป) è é ê ë ì í À Á Â Ã Ä Å Æ Ç È É Ê Ë Ì Í Î Ï Ñ Ò Ó Ô Õ Ö Ø Ù Ú Û Ü ß à á â ã ä å æ ç è é ê ë ì í î ï ñ ò ó ô œ õ ö ø ù ú û ü ÿ |
เครื่องหมายวรรคตอน: |
¿ ¡ « » § ¶ † ‡ • — |
สัญลักษณ์ทางการเงิน: |
™ © ® ¢ € ¥ £ ¤ |
ตัวห้อย: x2 ตัวยก: x2 or x²
|
ตัวห้อย: x<sub>2</sub> ตัวยก: x<sup>2</sup> or x² ε<sub>0</sub> = 8.85 × 10<sup>−12</sup> C² / J m. 1 [[hectare]] = [[1 E4 m²]] |
ตัวอักษรกรีก: α β γ δ ε ζ |
α β γ δ ε ζ η θ ι κ λ μ ν ξ ο π ρ σ ς τ υ φ χ ψ ω Γ Δ Θ Λ Ξ Π Σ Φ Ψ Ω |
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์: |
∫ ∑ ∏ √ − ± ∞ ≈ ∝ ≡ ≠ ≤ ≥ → × · ÷ ∂ ′ ″ ∇ ‰ ° ∴ ℵ ø ∈ ∉ ∩ ∪ ⊂ ⊃ ⊆ ⊇ ¬ ∧ ∨ ∃ ∀ ⇒ ⇔ → ↔ |
x2 ≥ 0 true.
|
<i>x</i><sup>2</sup> ≥ 0 true. |
สูตรคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อน:
|
<math>\sum_{n=0}^\infty \frac{x^n}{n!}</math> |
การเว้นมิให้แปลงตัวตกแต่ง:
|
<nowiki>Link → (<i>to</i>) the [[FAQ]]</nowiki> |
ใส่บันทึกหมายเหตุในซอร์สของหน้า:
|
<!-- ใส่บันทึกหมายเหตุที่นี่ --> |
ตารางแบบ HTML
[แก้ไข]ตารางแบบ HTML สามารถนำมาใช้ได้เป็นอย่างดี ท่านสามารถดูวิธีการใช้ และพูดคุยเกี่ยวกับการทำตารางได้ที่ Using tables.
ตัวแปร
[แก้ไข]รหัส | ผลลัพธ์ที่ได้ |
---|---|
{{CURRENTMONTH}} | 12 |
{{CURRENTMONTHNAME}} | ธันวาคม |
{{CURRENTMONTHNAMEGEN}} | ธันวาคม |
{{CURRENTDAY}} | 18 |
{{CURRENTDAYNAME}} | วันพุธ |
{{CURRENTWEEK}} | 51 |
{{CURRENTYEAR}} | 2024 |
{{CURRENTTIME}} | 04:53 |
{{NUMBEROFARTICLES}} | 329 |
{{PAGENAME}} | การแก้ไข |
{{NAMESPACE}} | วิธีใช้ |
{{REVISIONID}} | - |
{{localurl:pagename}} | /wiki/Pagename |
{{localurl:วิกิพีเดีย:กระบะทราย|action=edit}} | /w/index.php?title=%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2&action=edit |
{{SERVER}} | //th.wikiquote.org |
{{ns:1}} | พูดคุย |
{{ns:2}} | ผู้ใช้ |
{{ns:3}} | คุยกับผู้ใช้ |
{{ns:4}} | วิกิคำคม |
{{ns:5}} | คุยเรื่องวิกิคำคม |
{{ns:6}} | ไฟล์ |
{{ns:7}} | คุยเรื่องไฟล์ |
{{ns:8}} | มีเดียวิกิ |
{{ns:9}} | คุยเรื่องมีเดียวิกิ |
{{ns:10}} | แม่แบบ |
{{ns:11}} | คุยเรื่องแม่แบบ |
{{ns:12}} | วิธีใช้ |
{{ns:13}} | คุยเรื่องวิธีใช้ |
{{ns:14}} | หมวดหมู่ |
{{ns:15}} | คุยเรื่องหมวดหมู่ |
{{SITENAME}} | วิกิคำคม |
หน้าที่ถูกป้องกัน
[แก้ไข]ในบางกรณีลิงก์ที่เคยแสดงว่า "แก้ไขหน้านี้" กลับถูกแสดงแทนด้วยคำว่า "หน้าถูกป้องกัน" (หรืออื่น ๆ ที่เทียบเท่ากันในภาษาของโครงการนั้น ๆ) ในกรณีนี้หน้านั้นจะแก้ไขมิได้
การแยกส่วนกันตรวจแก้
[แก้ไข]การย้ายหรือคัดลอกส่วนของข้อความในหน้าเดียวกัน หรือจากหน้าอื่น และจะแก้ไขส่วนอื่น ๆ ด้วย จะเป็นการดีกว่าถ้าแยกการแก้อย่างนี้เป็น 2 หน เพราะจะทำให้การตรวจความแตกต่างเกิดประโยชน์ที่สุด สำหรับการตรวจสอบการตรวจแก้อื่น ๆ
หัวข้อที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสม
[แก้ไข]หากคุณพบเห็นหน้าที่ไม่เหมาะสม และต้องการแจ้งลบ ให้ใส่คำว่า {{ลบ}} ที่หน้านั้น. หน้านั้นจะถูกเพิ่มเข้าไปในรายการหน้าที่ถูกแจ้งลบ โดยทันที
สำหรับผู้ใช้เว็บเบราว์เซอร์ Safari
[แก้ไข]ถ้าท่านใช้เว็บเบราว์เซอร์ซาฟารี (Safari) บน Mac OS X ท่านจะพบว่า การที่เบราว์เซอร์กำหนดให้เวลาการโหลด หรืออัพโหลดหน้า ใช้เวลาได้ไม่เกิน 60 วินาทีนั้น สั้นเกินไป ที่ท่านจะส่งการแก้ไขของท่านได้ โดยเฉพาะเมื่อเซิร์ฟเวอร์กำลังรับการโหลดหนัก ๆ การคลิกที่ "บันทึก" อีกที จะเป็นการแก้ไขซ้ำ ซึ่งจะเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ถ้าเป็นการแก้ไขเฉพาะส่วน (section) ปัญหานี้ท่านสามารถแก้ได้โดยติดตั้ง SafariNoTimeout ซึ่งเป็นส่วนขยายฟรี ที่ช่วยเพิ่มเวลาจาก 60 วินาทีเป็น 10 นาทีได้